ยางตายนึ่ง กับยางท่อตาย คนละอาการกันนะครับ ลองดูรายละเอียดด

รีวิวและอธิบายการใช้สินค้า ในกลุ่มยางพารา
ตอบกลับโพส
บุคคลทั่วไป

ยางตายนึ่ง กับยางท่อตาย คนละอาการกันนะครับ ลองดูรายละเอียดด

โพสต์ โดย บุคคลทั่วไป » เสาร์ 13 เม.ย. 2013 10:10 pm

ยางตายนึ่ง ที่จะกล่าวต่อไปนี้มี 2 แบบครับ
(ไม่อ้างอิงบทความวิชาการใดๆทั้งสิ้น เขียนจากประสบการณ์จริงที่รักษามาครับ)
1 ยางตายนึ่งเทียม(เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ายางท่อตาย) 2 ยางตายนึ่งแท้ (กรีดตรงไหนก็ไม่เจอน้ำยาง)
ผมจะกล่าวถึงยางตายนึ่งเทียม(ยางท่อตาย)ก่อนนะครับ
ยางตายนึ่งเทียมเกิดจากท่อน้ำยางเสียหายอุดตัน ไม่สามารถส่งผ่านน้ำยางในหน้ากรีดเดิมได้นะครับ ถ้าเราเปิดหน้ากรีดใหม่จะมีน้ำยาง เปิดหน้าสูงก็มีเปิดด้านหลังก็มี แบบนี้เรียกยางท่อตายนะครับ ยางท่อตาย เกิดจากความไม่สมบูรณ์ของท่อน้ำยาง ท่อน้ำยางแห้งเนื่องจากใช้สาร เมทาแลคซิล ทาหน้ายางเพียวๆ หรือผสมกับดินแดงและปูนแดงทาหน้ายาง ซึ่มสารเมทาแลคซิลนี้จะรักษาเชื้อราได้ดี แต่ไม่รู้เลยว่าคุณกำลังทำผิด(เพราะรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เพราะ สารเมทาแลคซิลนี้จะดูดเอาความชื้นออกจากหน้ายางทีละน้อยๆจนทำให้ท่อน้ำยางแห้เสียหายไม่สามารถส่งผ่านน้ำยางได้ ส่วนมากที่ผมเจอจะเจอกับยาง 9 ปีขึ้นไป หรือสวนยางที่ใช้เทมาแลคซิลทามานานกว่า 3 ปี จะเจอกับปัญหาเหล่านี้ครับ ซึ่งหลายท่านมองเป็นอาการยางตายนึ่ง ซึ่งจริงๆแล้วเป็นแค่อาการยางท่อตายนะครับ (รักษาง่ายมากๆ) ใช้เวลารักษาน้อยครับ 5-7วันเท่านั้น
การรักษายางตายนึ่งเทียมรักษาแบบเดียวกันกับยางตายนึ่งแท้นะครับ รักษาง่ายรับรองผล100%ครับ (ชมการรักษาที่ยางตายนึ่งแท้นะครับ)

ยางตายนึ่งแท้ สำหรับยางตายนึ่งแท้นั้นเกษตรกรชาวสวนยางคงจะเจอกันทุกสวนนะครับ ไม่ช้าก็เร็วต้องเจอแน่นอน อาการ กรีดตรงไหนก็ไม่มีน้ำยาง เปลือกแห้ง อาจมีเปลือกแตกหลุดร่อนออกมา และเปลือกยางขาดความสมบูรณ์แห้งมีสีแดงซีดๆ เปลือกแข็ง กรีดหน้าสูงก็ไม่เจอน้ำยาง อาการนี้เกษตรกรอาจจะพักต้นไว้ หรืออาจจะโค่นทิ้งกันซ่ะส่วนมากนะครับ
พอเราทราบว่ายางตายนึ่งมีลักษณะอย่างไรและอาการเป็นอย่างไร ตายนึ่งแท้หรือตายนึ่งเทียม ในขั้นตอนต่อไปเราจะมาบอกกล่าวถึงการเกิดยางตายนึ่ง และการรักษากันนะครับ

การเกิดยางตายนึ่งแท้
การเกิดยางตายนึ่งแท้ ที่ชาวสวนยางปวดหัวกันมาหลายยุคหลายสมัย เสียหายกัน นับล้านบาท เสียโอกาสเสียเวลา หรืออาจจะโค่นต้นยางทิ้ง ทั้งๆที่ปลูกกันมากว่าสิบๆปี ตอนนี้เรามาทำความเข้าใจกันนะครับ ว่ายางตายนึ่งแท้เกิดจากอะไร
ยางตายนึ่งแท้เกิดจาก สาเหตุหลัก 3 ประการคือ
1 ต้นยางติดลูกดก(ยางติดลูกดกต้นยางจะนำสารอาหารที่ผลิตได้ ไปเลี้ยงลูกยางทั้งหมด)
2 ต้นยางขาดสารอาหารอย่างรุนแรง (ขาดน้ำขาดปุ๋ย)
3 เชื้อราเล่นงานอย่างหนัก(ลำต้น ใบ ราก)
สามอาการที่กล่าวมาข้างต้นนี้ เป็นสาเหตุของการเกิดยางตายนึ่ง เกิดได้ยังไงไปฟังกันต่อครับ

ต้นยางที่กล่าวมา3อาการใหญ่ๆข้างต้นนี้ จะทำให้ต้นยางป่วย (ผมจะเรียกว่าต้นยางเครียด) พอต้นยางเครียด ต้นยางจะสร้างสารเคมีขึ้นมาในระดับหนึ่ง ที่สูงหรือไม่สูง ขึ้นอยู่กับความเครียดของต้นยาง
หมายเหตุ : สารเคมีที่ต้นยางสร้างขึ้นมา มีฤทธิ์เป็นกรด
พักไว้ตรงนี้ก่อนนะครับ ผมจะถามคำถามกลับไปนะครับ
คำถาม : คุณเคยเอาน้ำกรดไปหยด น้ำยางไหมครับ ถ้าเคยอาการเป็นอย่างไร
คำตอบ : เคยครับ ผมเอากรดไปหยดน้ำยางแล้ว น้ำยางจะแข็งและจับตัวกันเป็นก้อนครับ

คุณคิดถูกต้องครับ เมื่อต้นยางสร้างสารเคมีที่มีฤทธิ์ เป็นกรดขึ้นมา น้ำยางภายในต้นยางจะแข็งตัวครับ กรีดยังไงก็ไม่ออกครับเพราะมันแข็งตัว ทำให้เวลากรีดแล้วไม่มีน้ำยางไหลชาวบ้านเลยเรียกว่ายางตายนึ่งครับ นี่เป็นที่มาของยางตายนึ่งครับ

ท่านผู้อ่านคงพอนึกภาพออกแล้วนะครับ ยางตายนึ่งเกิดจากกรดที่ต้นยางสร้างขึ้นมาภายในลำต้นทำให้น้ำยางที่อยู่ในต้นแข็งตัวครับ แล้วแบบนี้จะรักษากันยังไง
การรักษาที่ผ่านมามีการทดลอง หลายชนิดหลายขนาด หลายแบบ แต่ผลยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ใช้สารเร่งรักษาก็ไม่หาย(ชาวสวนยางทราบดีว่าสารเร่งใช้เร่งได้อย่างเดียวรักษายางตายนึ่งไม่ได้) ใช้ปุ๋ยแค่ไหนก็ยังไม่ดีขึ้น พักต้นไว้นานๆก็ยังไม่หาย สุดท้ายโค่นขายไม้ยางและปลูกใหม่(ซึ่งเสียเวลา6-7ปีกว่าจะกลับมาทำรายได้ให้กับเกษตรกรชาวสวนยางได้ใหม่ เสียเวลามากครับ
วิธีการรักษายางตายนึ่ง ยางตายนึ่งที่กล่าวมาแล้วเกิดจากกรดที่มีมากจนถึงระดับที่ทำให้น้ำยางภายในต้นยางแข็งตัว ถ้ารู้อย่างนี้แล้วเราต้องลดกรดในต้นยางก่อนครับ วิธีการลดกรดในต้นยาง ใช้ฟิวส์ชั่น3+ฟูลพาวเวอร์ สูตรรักษายางตายนึ่ง ทารอบต้น เพื่อลดกรดในต้นยางครับ (ก่อนทาหรือฉีดพ่นต้องเตรียมต้นยางให้พร้อมก่อนนะครับ ลอกเปลือกยางออกก่อน และกรีดแผลใหม่เพื่อเปิดท่อน้ำยาง กรีดให้ลึกจนเกือบถึงแกนนะครับ) และใช้ ฟิวส์ชั่น3(สูตรบำรุงต้นทาปาดหน้า เพื่อเติมสารอาหารให้กับต้นยาง) ทำแบบนี้ 2 วันติดกันนะครับ แล้วพักไว้ 6 วันมาเปิดกรีด (การเปิดกรีดยางตายนึ่งจะต้องเปิดกรีดให้ลึกเกือบถึงแกนเลยนะครับเพราะท่อน้ำยางด้านในจะหายก่อนครับ สะกระยะค่อยเปิดห่างจากแกนได้ครับ) ภายใน6วันกรดจะคลายลง น้ำยางค้างเก่าในต้นจะไหลออกมาอย่างแน่นอนครับ มาถึงตรงนี้ชาวสวนยางคงจะมี คำถาม
เกษตรกร ถาม : ต้นยางที่รักษาด้วยฟิวส์ชั่น3+ฟูลพาวเวอร์(สูตรรักษายางตายนึ่ง) พอรักษาหายแล้ว ไหลกี่วันจะกลับไปตายนึ่งใหม่ได้ไหม่ ต้องใช้ตลอดเลยหรือเปล่า
ตอบ : หลังจากรักษายางตายนึ่งหายแล้ว (น้ำยางที่ได้ประมาณเกือบๆครึ่งถ้วย/มีด) ไม่ต้องใช้ชุดรักษายางตายนึ่งอีกต่อไปครับ ให้ใช้ ฟิวส์ชั่น3+ฟูลพาวเวอร์สูตรบำรุงรักษาหน้ายางแทนครับ และควรทาทุกๆ 7-10 วันครับ น้ำยางจะเพิ่มปริมาณ มีน้ำหนัก เปอร์เซ็นต์ไม่ลดครับ บอกเลยว่า สะใจชาวสวนยางครับงานนนี้





บทความนี้เป็นบทความส่วนตัว ไม่อนุญาตให้นำไปอ้างอิงใดๆ และไม่อนุญาตให้นำบทความนี้ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาต
ยางตายนึ่ง จะไม่มารบกวนสวนยางท่านอีกต่อไปครับ
มีข้อสงสัยประการใด ติดต่อสอบถามได้ที่ 0897522999 0815502458 0882892328 ครับ

แนะนำสินค้า

Re: ยางตายนึ่ง กับยางท่อตาย คนละอาการกันนะครับ ลองดูรายละเอ

โพสต์ โดย แนะนำสินค้า » พุธ 24 เม.ย. 2013 10:08 pm

หากท่าน ลองรักษายางตายนึ่งมาหลายครัง แล้วยังไม่ได้ผล
เราขอเสนอ ฟิวส์ชั่น3+ฟูลพาวเวอร์ เป็นคำตอบสุดท้ายครับ รับรองผลงานใน7วันเท่านั้นครับ

อ.บอล
โพสต์: 882
ลงทะเบียนเมื่อ: จันทร์ 01 เม.ย. 2013 4:49 pm
ติดต่อ:

Re: ยางตายนึ่ง กับยางท่อตาย คนละอาการกันนะครับ ลองดูรายละเอียดด

โพสต์ โดย อ.บอล » ศุกร์ 26 ก.ค. 2013 12:34 pm

ปูนแดง ที่ทาเป็นประจำ จะทำให้หน้ายางแห้ง สูญเสียความชื้นของหน้ายาง และท่อน้ำยางจะค่อยๆแห้งตายลง
ลองสังเกตุดูครับ ถ้าท่อน้ำยางแห้งแล้วลองเปิดกรีดด้านใหม่ดูนะครับ จะมีน้ำยางออกมา อาการนี้ ผมเรียกยางท่อตายครับ

รักษาง่ายครับ ฟื้นฟูระบบท่อน้ำยางที่แห้งเสียด้วย ฟูลพาวเวอร์นะครับ ประมาณ10วันเท่านั้นอาการนี้ก็จะหายครับ ทดสอบดูนะครับ ใครที่ทดสอบแล้ว โพสรูปด้วยนะครับ หายไม่หายยังไงเอามาแชร์กันนะครับ

เราจะได้เรียนรู้ไปพร้อมๆกันครับ
แนบไฟล์
ปูนแดง.jpg


Bumped ล่าสุดโดย Anonymous on ศุกร์ 26 ก.ค. 2013 12:34 pm.
รับผลิตสินค้า อาหารเสริมพืช สั่งผลิตตราตัวเองขั้นต่ำ 1 ลัง ออกแบบแบรนด์ ออกแบบฉลาก ส่งวิเคราะห์ขึ้นทะเบียน ถูกต้อง ขายสบายใจทำตลาดของตัวเอง รับประกันสินค้า มีหลากหลายเกรดให้เลือก สอบถามโทร 0897522999 0815502458 ครับ
http://www.pnpandbest.com

ตอบกลับโพส

ย้อนกลับไปยัง “ฮอร์โมนสำหรับยางพารา สารทาหน้ายาง ปุ๋ยทาหน้ายาง”

ผู้ใช้งานขณะนี้

สมาชิกกำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิกใหม่ และบุคลทั่วไป 9