ข้อมูล ยาง RRIM 3001 ครับ

รีวิวและอธิบายการใช้สินค้า ในกลุ่มยางพารา
ตอบกลับโพส
stpc096
Administrator
โพสต์: 87
ลงทะเบียนเมื่อ: พฤหัสฯ. 10 พ.ค. 2012 9:55 am
ติดต่อ:

ข้อมูล ยาง RRIM 3001 ครับ

โพสต์ โดย stpc096 » อาทิตย์ 17 มี.ค. 2013 8:15 am

RRIM 3001


แม่ x พ่อ : RRIM 2025 + PB350

แหล่งกำเหนิด : ประเทศมาเลเซีย

ลักษณะทั่วไป : เป็นสายพันธุ์ของศูนย์วิจัยยางมาเลเซีย (MRB) ด้วยความก้าวหน้าด้าน
เทคโนโลยีวิศวกรรมพันธุกรรม ทำให้ร่นระยะเวลาการในการกรีดเพียงแค่ 4 ปีเศษ ๆ เท่านั้น
ซึ่งเป็นยางพันธุ์ใหม่ ที่เปิดตัว เมื่อ 13 สิงหาคม 2009

ลักษณะเด่น
1. กรีดได้ใน 4 ปีหลังปลูก ช่วยลดระยะเวลา ให้สั้นลงได้มากกว่าครึ่งของยางพันธุ์เก่าๆ
2. ให้ผลผลิตน้ำยางที่มีศักยภาพไม่ต่ำกว่า 500 กก./ไร่/ปี
3. เส้นรอบวงกว้างและลำต้นตรง ให้เนื้อไม้ 2.0 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น หลังจาก 15 ปีการเพาะปลูก
4. ความต้านทานโรค ดีว่าสายพันธุ์บ้านเรา

การแตกกิ่งและทรงพุ่ม : แตกกิ่งเร็ว กิ่งมีขนาดใหญ่ ทรงพุ่มสูง ใบเขียวเข็ม
สังเคราะห์แ

ระบบราก : ระบบราลึก หาอาหารเก่ง ทนทานต่อสภาพน้ำท่วมขัง และทนทานต่อ
ความแห้งแล้งได้ดีในระดับปานกลาง

ผลผลิตไม้ยาง : เมื่อโตเต็มที่จะเป็นลักษณะของไม้ซุง จึงเหมาะกับการปลูกเชิงพาณิชย์
รวมไปถึงการปลูกเป็นสวนป่าด้วย

ความต้านทานโรค : ต้านทานโรคใบร่วงจากเชื้อไฟทอปเทอร่า และโรคใบหงิก
จากเชื้ออออิเดี้ยมได้ดีระดับปานกลาง แต่ในระยะต้นกล้า
ต้องคอยดูแลเป็นพิเศษ
แนบไฟล์
RRIM3001.jpg
RRIM3001.jpg (16.66 KiB) Viewed 4050 times
RRIM3001.jpg
RRIM3001.jpg (16.66 KiB) Viewed 4050 times
น้ำยางออกน้อย,เปลือกแตก,ยางตายนึ่ง,น้ำยางไม่ไหล,หน้าเน่า
อาการเหล่านี้จะหมดไป ไม่ต้องปวดหัวและเหนื่อยใจอีกต่อไปแล้วครับ
คลิ๊กเข้าชมสวนที่รักษาหาย
คลิ๊กเข้าชมวีธีการรักษายางตายนึ่ง
วิธีใช้ผลิตภัณฑ์ สูตรบำรุงต้น เพิ่มน้ำยาง

stpc096
Administrator
โพสต์: 87
ลงทะเบียนเมื่อ: พฤหัสฯ. 10 พ.ค. 2012 9:55 am
ติดต่อ:

Re: ข้อมูล ยาง RRIM 3001 ครับ

โพสต์ โดย stpc096 » อาทิตย์ 17 มี.ค. 2013 8:21 am

ลักษณะกล้ายาง
แนบไฟล์
3001.jpg
3001.jpg (26.99 KiB) Viewed 4048 times
น้ำยางออกน้อย,เปลือกแตก,ยางตายนึ่ง,น้ำยางไม่ไหล,หน้าเน่า
อาการเหล่านี้จะหมดไป ไม่ต้องปวดหัวและเหนื่อยใจอีกต่อไปแล้วครับ
คลิ๊กเข้าชมสวนที่รักษาหาย
คลิ๊กเข้าชมวีธีการรักษายางตายนึ่ง
วิธีใช้ผลิตภัณฑ์ สูตรบำรุงต้น เพิ่มน้ำยาง

ตอบกลับโพส

ย้อนกลับไปยัง “ฮอร์โมนสำหรับยางพารา สารทาหน้ายาง ปุ๋ยทาหน้ายาง”

ผู้ใช้งานขณะนี้

สมาชิกกำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิกใหม่ และบุคลทั่วไป 2